ในวันข้างหน้าอันใกล้นี้ แรงงานต่างชาติจากเพื่อนบ้านที่มาของานทำในบ้านเราจะค่อย ๆ ลดลงเป็นลำดับเมื่อบ้านเมืองของเขากลายเป็นจุดสนใจที่น่าจะลงทุนในอุตสาหกรรมประเภทใช้แรงงาน (Labor Intensive Industries) จนกระทั่งขยายไปยังอุตสาหกรรมประเภทที่ใช้เทคนิคและทุนสูงขึ้นในอนาคต แรงงานหรือพนักงานในสายวิชาชีพที่แข็งแกร่งกว่าหรือมีความสามารถความชำนาญมากกว่าก็จะเริ่มเข้าไปแย่งงานคนท้องถิ่น จนกว่าคนท้องถิ่นจะสามารถพัฒนาเรียนรู้ตามได้เป็นวัฏจักรต่อไป
ในโอกาสข้างหน้าจะมีการคุ้มครองแรงงานต่างด้าวให้มีค่าแรงเ่ทากับคนไทยก็ได้เพราะมีความหลากหลายด้านภาษาถ้าเปิดประชาคมอาเซี่ยนทำให้มีการหางานทำหลากหลายขึ้นถ้าค่าแรงเท่ากันอาจทำให้แรงงานต่างด้าวอาจไม่มีคนต้องการก็ได้
ปัญหาแรงงานไทยในมุมมองของผม คือ1.เลือกงาน สบายแต่อยากได้เงินมาก2.ไม่มีคุณวุฒิรับรองจากสถาศึกษา3.ไม่มีหนังสือรับรองหรือใบผ่านงาน(กรณีไม่ได้เข้าเรียนตามหลักสูตรชั้นเรียนคือไปฝึกงานเองตามร้านที่รับแล้วมีความชำนาญ)4.รัฐต้องเข้ามาดูแลโดยให้กระทรวงแรงงานเข้ามาทำการสอบ(ภาคปฏิบัติงานจริงเพราะทฤษฎีมันตอบไม่ได้เพราะไม่ได้เรียน)เพื่อออกหนังสือรับรองใบผานงานให้กับคนกลุ่มนี้5.รัฐต้องมีนโยบายสาธารณะให้กับคนกลุ่มนี้มากขึ้น เช่น สวัสดิการณ์การรักษา,ปรับมาตรฐานเงินเดือน,จัดหางานทั้งในและนอกประเทศ เพื่อรองรับ Aseanจาก x5sonic
ผมคิดว่าแรงงานไทยในปัจจุบันนี้มีการศึกษาน้อยมาก รักความสบายเอาเปรียบกันเองในหมู่คนใช่แรงงานด้วยกัน
ผมว่าคนไทยมีการศึกษามากขึ้นก็เลยไม่ยากทำงานหนักและถูกกดขี่จากนายจ้างมากเกินไป
หากเรายังหลงตัวเองว่าเก่งกว่าว่าไม่ใช้ว่าทำได้แต่ฝีมือมัมต้องขัดเกลาให้แต่ก็ต้องรักษาเอกลักษณ์ของตนเองไวด้วยว่าต่อยมวยไทยเป็นเตะเป็นต่อยเป็นนะลองกำหมัดดูว่ามันมีสันหมัดไหมเตะถูกไหมลองกำหมัดดูก่อนคนไทยเอย
แรงงานไทยการศึกษาน้อยแล้วยังคิดว่าตัวเองทำอะไรได้บ้างแลือกงานค่าแรงน้อยก็ไม่ได้ ต้องดูว่าสบายหรือไม่แต่เราต้องใช้โอกาสในการฝึกฝนในทุกด้านมีการพัฒนาแรงงานให้มีความสามรถในการต่อสู้แข่งขันกันมากขึ้นถ้าเราต้องทำงานกันต้องมีการพัฒนาไปเรื่อยปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาอย่างมีเหตุมีผล
ต้องพัฒนาฝีมือแรงงานทุกด้านทั้งด้านจิตใจ
มีการเติบโตด้านเศรษฐกิจและธุรกิจบริการเพิ่มขึ้นอย่างมาก แรงงานจากชนบทที่เข้ามาหางานทำในเมือง ต้องเปลี่ยนไปขายแรงงานในภาคธุรกิจบริการเพิ่มมากขึ้น
ในเมืองมีความสะดากสบายจึงทำให้มีคนมาทำงานในเมืองมากกว่าหรือบางทีอาจหาเงินส่งไปให้ที่บ้านต่างจังหวัดแต่เมื่อไหร่มีแหล่งสร้างงานในตจว.เราควรทำอย่างไรในพัฒนาออกไปตามสถานที่เหมาะสมคือขยายที่ชุมชนไปในต่างจังหวัด
เนื่องจากทำงานในนวนคร เมื่อปีที่แล้วเกิดเหตุการน้ำท่วม ทางบริษัทจึงได้จัดส่งคนไปทำงานที่ญี่ปุ่น แล้วกลับมาตอนปีใหม่ ก็ส่งตัวไปทำงานที่จังหวัดลำพูนต่อ ทางบริษัทสัญญาว่าจะเปิดทำการที่นวนครแล้วให้กลับมาทำงานที่นวนครประมาณ เดือน 7-8 ของปี 2555 แต่ปัจจุบันนี้ ทางบริษัทกับจะส่งตัวพนักงานไปทำงานทีระยองต่อ เลื่อนการเปิดที่นวนครไปเลื่อยๆ พนักงานส่วนใหญ่สมัครใจไม่ไป แต่ทางบริษัทไม่มีนโยบายจ้างออกทั้งๆที่เป็นคนผิดคำพูด แถมยังหลอกให้เซ็นโน้นนี้อีก เพื่อให้ยินยอมไปทำงาน (เหมือนบีบพนักงานทางอ้อม)จึงรบกวนถามค่ะว่าเราจะใช่กฎหมายอะไรต่อรองกับเค้าได้ค่ะ ช่วยตอบด้วยนะค่ะ ขอบคุณค่ะ
ประเทศไทยจะเป็นประเทศเกษตรกรรม แรงงานส่วนใหญ่ของประเทศเกือบครึ่งหนึ่งทำงานในภาคการเกษตร (ร้อยละ 41.1 ในปี 2554) แต่อย่างไรก็ตามการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศยังคงต้องพึ่งพาการผลิตจากนอกภาคเกษตรอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จากแผนพัฒนาต่างๆ ที่ผ่านมา ส่งผลให้ประชากรมีโอกาสได้รับการศึกษามากยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกันทัศนคติเกี่ยวกับการทำงานก็หันเหจากภาคเกษตรกรรมเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมการผลิตและบริการเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่มองว่าการทำงานภาคเกษตร เป็นงานที่เหนื่อยยากต้องพึ่งพาธรรมชาติ รายได้น้อยไม่แน่นอน และไม่มีสวัสดิการที่มั่นคงจึงทำให้วัยแรงงานในปัจจุบันไม่สนใจงานภาคเกษตร
ในวันข้างหน้าอันใกล้นี้ แรงงานต่างชาติจากเพื่อนบ้านที่มาของานทำในบ้านเราจะค่อย ๆ ลดลงเป็นลำดับเมื่อบ้านเมืองของเขากลายเป็นจุดสนใจที่น่าจะลงทุนในอุตสาหกรรมประเภทใช้แรงงาน (Labor Intensive Industries) จนกระทั่งขยายไปยังอุตสาหกรรมประเภทที่ใช้เทคนิคและทุนสูงขึ้นในอนาคต แรงงานหรือพนักงานในสายวิชาชีพที่แข็งแกร่งกว่าหรือมีความสามารถความชำนาญมากกว่าก็จะเริ่มเข้าไปแย่งงานคนท้องถิ่น จนกว่าคนท้องถิ่นจะสามารถพัฒนาเรียนรู้ตามได้เป็นวัฏจักรต่อไป
ตอบลบในโอกาสข้างหน้าจะมีการคุ้มครองแรงงานต่างด้าวให้มีค่าแรงเ่ทากับคนไทยก็ได้เพราะมีความหลากหลายด้านภาษาถ้าเปิดประชาคมอาเซี่ยนทำให้มีการหางานทำหลากหลายขึ้นถ้าค่าแรงเท่ากันอาจทำให้แรงงานต่างด้าวอาจไม่มีคนต้องการก็ได้
ตอบลบปัญหาแรงงานไทยในมุมมองของผม คือ
ตอบลบ1.เลือกงาน สบายแต่อยากได้เงินมาก
2.ไม่มีคุณวุฒิรับรองจากสถาศึกษา
3.ไม่มีหนังสือรับรองหรือใบผ่านงาน(กรณีไม่ได้เข้าเรียนตามหลักสูตรชั้นเรียนคือไปฝึกงานเองตามร้านที่รับแล้วมีความชำนาญ)
4.รัฐต้องเข้ามาดูแลโดยให้กระทรวงแรงงานเข้ามาทำการสอบ(ภาคปฏิบัติงานจริงเพราะทฤษฎีมันตอบไม่ได้เพราะไม่ได้เรียน)เพื่อออกหนังสือรับรองใบผานงานให้กับคนกลุ่มนี้
5.รัฐต้องมีนโยบายสาธารณะให้กับคนกลุ่มนี้มากขึ้น เช่น สวัสดิการณ์การรักษา,ปรับมาตรฐานเงินเดือน,จัดหางานทั้งในและนอกประเทศ เพื่อรองรับ Asean
จาก x5sonic
ผมคิดว่าแรงงานไทยในปัจจุบันนี้มีการศึกษาน้อยมาก รักความสบายเอาเปรียบกันเองในหมู่คนใช่แรงงานด้วยกัน
ตอบลบผมว่าคนไทยมีการศึกษามากขึ้นก็เลยไม่ยากทำงานหนักและถูกกดขี่จากนายจ้างมากเกินไป
ตอบลบหากเรายังหลงตัวเองว่าเก่งกว่าว่าไม่ใช้ว่าทำได้แต่ฝีมือมัมต้องขัดเกลาให้แต่ก็ต้องรักษาเอกลักษณ์ของตนเองไวด้วยว่าต่อยมวยไทยเป็นเตะเป็นต่อยเป็นนะลองกำหมัดดูว่ามันมีสันหมัดไหมเตะถูกไหมลองกำหมัดดูก่อนคนไทยเอย
ตอบลบแรงงานไทยการศึกษาน้อยแล้วยังคิดว่าตัวเองทำอะไรได้บ้างแลือกงานค่าแรงน้อยก็ไม่ได้ ต้องดูว่าสบายหรือไม่แต่เราต้องใช้โอกาสในการฝึกฝนในทุกด้านมีการพัฒนาแรงงานให้มีความสามรถในการต่อสู้แข่งขันกันมากขึ้นถ้าเราต้องทำงานกันต้องมีการพัฒนาไปเรื่อยปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาอย่างมีเหตุมีผล
ตอบลบต้องพัฒนาฝีมือแรงงานทุกด้านทั้งด้านจิตใจ
ตอบลบมีการเติบโตด้านเศรษฐกิจและธุรกิจบริการเพิ่มขึ้นอย่างมาก แรงงานจากชนบทที่เข้ามาหางานทำในเมือง ต้องเปลี่ยนไปขายแรงงานในภาคธุรกิจบริการเพิ่มมากขึ้น
ตอบลบในเมืองมีความสะดากสบายจึงทำให้มีคนมาทำงานในเมืองมากกว่าหรือบางทีอาจหาเงินส่งไปให้ที่บ้านต่างจังหวัดแต่เมื่อไหร่มีแหล่งสร้างงานในตจว.เราควรทำอย่างไรในพัฒนาออกไปตามสถานที่เหมาะสมคือขยายที่ชุมชนไปในต่างจังหวัด
ตอบลบเนื่องจากทำงานในนวนคร เมื่อปีที่แล้วเกิดเหตุการน้ำท่วม ทางบริษัทจึงได้จัดส่งคนไปทำงานที่ญี่ปุ่น แล้วกลับมาตอนปีใหม่ ก็ส่งตัวไปทำงานที่จังหวัดลำพูนต่อ ทางบริษัทสัญญาว่าจะเปิดทำการที่นวนครแล้วให้กลับมาทำงานที่นวนครประมาณ เดือน 7-8 ของปี 2555 แต่ปัจจุบันนี้ ทางบริษัทกับจะส่งตัวพนักงานไปทำงานทีระยองต่อ เลื่อนการเปิดที่นวนครไปเลื่อยๆ พนักงานส่วนใหญ่สมัครใจไม่ไป แต่ทางบริษัทไม่มีนโยบายจ้างออกทั้งๆที่เป็นคนผิดคำพูด แถมยังหลอกให้เซ็นโน้นนี้อีก เพื่อให้ยินยอมไปทำงาน (เหมือนบีบพนักงานทางอ้อม)
ตอบลบจึงรบกวนถามค่ะว่าเราจะใช่กฎหมายอะไรต่อรองกับเค้าได้ค่ะ
ช่วยตอบด้วยนะค่ะ
ขอบคุณค่ะ
ประเทศไทยจะเป็นประเทศเกษตรกรรม แรงงานส่วนใหญ่ของประเทศเกือบครึ่งหนึ่งทำงานในภาคการเกษตร (ร้อยละ 41.1 ในปี 2554) แต่อย่างไรก็ตามการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศยังคงต้องพึ่งพาการผลิตจากนอกภาคเกษตรอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จากแผนพัฒนาต่างๆ ที่ผ่านมา ส่งผลให้ประชากรมีโอกาสได้รับการศึกษามากยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกันทัศนคติเกี่ยวกับการทำงานก็หันเหจากภาคเกษตรกรรมเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมการผลิตและบริการเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่มองว่าการทำงานภาคเกษตร เป็นงานที่เหนื่อยยากต้องพึ่งพาธรรมชาติ รายได้น้อยไม่แน่นอน และไม่มีสวัสดิการที่มั่นคงจึงทำให้วัยแรงงานในปัจจุบันไม่สนใจงานภาคเกษตร
ตอบลบ