ปัจจุบันประเทศไทย มีการพัฒนาศักยภาพให้แก่ทรัพยากรบุคคลทางด้านแรงงานในประเทศ และส่งออกแรงงานฝีมือไปสร้างสรรค์ผลงานให้เป็นที่ประจักษ์แก่สายตาของชาวต่างชาติมาตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา ทำให้ตลาดแรงงาน การส่งออกแรงงานฝีมือของไทยช่วงที่ผ่านมานั้น มีผู้ประกอบการและนายจ้างจากต่างประเทศที่ต้องการแรงงานฝีมือของไทยไปทำงานด้วยอยู่ตลอด ซึ่งถือได้ว่าแรงงานไทยเป็นสินค้าส่งออกยอดนิยมของประเทศอีกชิ้นหนึ่งเลยทีเดียว แต่มีสิ่งหนึ่งที่เป็นปัญหาของแรงงาน และถือว่าเป็นปัญหาสำคัญที่คู่กับแรงงานไทยมาโดยตลอด ทำให้เกิดความด้อยคุณภาพกว่าแรงงานของชาติอื่นๆ ที่เป็นคู่แข่งนั่นคือ “ปัญหาทางด้านการใช้ภาษาสื่อสาร”
ในการสื่อด้านภาษานั้้นจะทำให้เรามีศักยภาพมากขึ้นก็จริงเราต้องพัฒนาฝีมือด้วยกันก่อนการจะส่งไปต้องมีการวัดผลด้านภาษาให้เป็นรูปธรรมให้มากขึ้นกว่านี้อีกจากหนว่ยงานทุกภาคสว่นจึงจะดีกว่ากันแต่ด้านฝีมือของเราดีกว่าเพียงแต่พัฒนาด้านภาษาในทุกสถานที่แบบทหารมีการรายงานเป้นภาษาอังกฤษด้วย
ข้อเสียเปรียบ สิ่งแรกคือ แรงงานจะไหลบ่า ทะลักเข้ามาอย่างห้ามไม่ได้ เป็นที่คาดว่า เมื่อมีการเปิดเสรีแรงงานเต็มที่จะมีการเคลื่อนย้ายแรงงานทักษะ อาทิ สถาปนิกและวิศวกรในอาเซียน ไปที่สิงคโปร์และมาเลเซียมากขึ้น แต่เมื่อกรอบการขยายบวกเป็นอาเซียนบวก3 อาเซียนบวก 6 บุคลากรในภาคต่าง ๆ เช่น ภาคการเงิน ธนาคาร และไอที คาดว่าจะมีการเคลื่อนย้ายเข้ามาเมืองไทยมากขึ้น และแย่งงานคนไทยมากขึ้นและ ค่าจ้างอาจถูกลง
ฉะนั้นสิ่งที่แรงงานอย่างเรา ๆ ท่านๆ จะต้องเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน คือ การเตรียมพร้อมเรื่องภาษาต่างประเทศสำหรับใช้ในการสื่อสารและการทำงาน รวมไปถึงความรู้ด้านวิชาการในแขนงต่าง ๆ เพื่อปรับตัวเข้าหาทุนต่างชาติและพัฒนาตัวเองให้เทียบเท่าหรือดีกว่า แรงงานจากชาติอื่น ๆ โดยพิจารณาจากมาตรฐานวิชาชีพที่เป็นที่ยอมรับระดับสากล การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องจะช่วยให้ท่านเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน แค่อ่านสิ่งที่ตัวเองต้องเตรียมตัวเพื่อรับมือประชาคมอาเซียนในอีก 4 – 5 ปีข้างหน้า ก็ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ก็ไม่ใช่เรื่องยากหากเราทุ่มเท และพยายาม ขอเป็นกำลังใจให้ชาวออฟฟิศด้วยกัน นะคะ
ก็อีกประมาณสี่ห้าปีเราก็พร้อมที่จะรับมือประชาคมอาเซียน คงเน้นเรื่่องการใช้ภาษาเป็นหลัก ทุกหน่วยงานมีความตื่นตัวพร้อมที่จะรับมือในอนาคต ประการแรกคงต้องเป็นปัญหาเรื่องของแรงงานเพราะจะมีการเปิดแบบเสรี
แรงงานไทยมันมีสองแบบ คือ ไปทำงานนี่เขาให้อยู่ในแคมอย่างเดียวก็มีในประเทศตะวันออกกลางที่เคยรู้มาครับ แต่ไอ้ที่ว่ามีปัญหานี่เป็นแบบมีความรู้มากกวาแต่ถ้ามีความรู้จริงก็น่าจะไปได้สวยประเทศเราอัธยาศัยดีครับภาษาคือการสื่อสารลองมาจริงผมว่าได้ครับแหมไอ้ตอนประเทศต่างที่อยู่รอบเราละก็เขายังถูกปกครองโดยต่างชาติเขาเปลี่ยนแปลงได้เราก็เปลี่ยนได้ครับ
ปัญหาแรงงานไทย สำหรับคนที่ได้รับการศึกษาน้อยส่วนใหญ่จะเปนแรงงานไร้ฝีมือ คุณภาพของงานมักจะออกมาต่ำ หากเทียบกับประเทศในแถบเอเชียด้วยกัน ขาดการอบรมและพัฒนาฝีมือจากกรมพัฒนาฝึมือแรงงาน เปนเหตให้ทำให้มีแรงงานไปทำงานต่างประเทศมีน้อย ส่วนใหญ่ที่ได้ไปหากไม่โดนหลอกก้อร้องหาเงินมาใช้หนี้ค่านายหน้า ค่าหัวคิว ค่าตัวเครื่องบิน หากเปนบุคคลที่มีการศึกษา จบมาเข้าสู่ตลาดแรงงานมักมีปัญหาเรื่องประสบการ และภาษาที่ใช้สื่อสาร ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ไม่ได้ ยกตัวอย่างเช่น หากคุณเปนเจ้าของกิจการ มีคนมาสมัครงานในตำแหน่งเดียวกันถึง2คน ทั้งคู่ต่างไม่มีประสบการด้านการทำงานในตำแหน่งนี้เลย แรกเปนนักศึกษาจบใหม่เปนคนไทย คนที่สองเปนคนอินโด พูดอังกฤษได้ ทั้งเรียกเงินเดือนเท่ากัน หากคุณเปนเจ้าของกิจการ คุณจะเลือกใคร
นับเป็นโอกาสของบางสาขาวิชาชีพที่จะไปทำงานในกลุ่มประเทศในประชาคมอาเซียนได้ง่ายขึ้น และนี่อาจเป็นหนทางหนึ่งในการขจัดความยากจนของแรงงานไทยภายในประเทศบางคน เนื่องจากเขาสามารถมีรายได้เพิ่มขึ้น จากการเคลื่อนย้ายไปทำงานต่างแดน ดังนั้น กลยุทธ์ที่เหมาะสม ก็คือ การเตรียมตัวแต่เนิ่นๆ อย่ารอให้วันเวลาผ่านไปพยายามสะสมความรู้ประสบการณ์และทักษะมาเพิ่มเติมให้เกิดคุณค่าในตัวตนให้มากขึ้น การเข้ารับการฝึกอบรมในด้านที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มขีดความสามารถหรือสมรรถนะของตนจะเป็นส่วนสำคัญในการช่วยให้ประสบความสำเร็จในการทำงานและการสร้างรายได้ให้ได้มากขึ้น โดยเฉพาะเรื่องของภาษา
มีแรงงานต่างชาติไหลเข้าสู่วิชาชีพ วงการอุตสาหกรรมต่างๆ มากขึ้น และจะมาแย่งตำแหน่งของแรงงานที่เป็นคนไทยไป ทำให้แรงงานไทยเสียโอกาสในการถูกว่าจ้างลดลง แต่เราต้องไม่ลืมว่าแรงงานเหล่านั้นมีทักษะเท่าเทียมกับแรงงานไทยหรือไม่ เพราะแรงงานไทยได้ชื่อว่าเป็นแรงงานที่มีทักษะพอสมควร แต่หากแรงงานต่างชาติมีทักษะที่เท่าเทียมกับแรงงานไทยหรือเหนือกว่า เพราะอย่างน้อยด้านภาษาอังกฤษที่เขาเหนือกว่านั้น เราก็คงต้องกำหนดยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ในการขวนขวายเพิ่มเติมความรู้ด้านนี้ เพื่อมาปิดจุดอ่อนของแรงงานไทยให้มากที่สุด เพียงแต่ว่าขณะนี้ เรามีหน่วยงานใดที่ได้ดำเนินการแล้วหรือยัง ซึ่งคงต้องรีบดำเนินการอย่างเร่งด่วน โดยเฉพาะภาครัฐซึ่งมีสถานศึกษาอยู่ในความดูแลควรจะเป็นหน่วยงานที่ริเริ่มและประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึง
ในด้านภาษานั้นของเราต้องมีการศึกษาครับต้องมีการอบรมก่อนออกจากการระดับภูมิภาคของเราต่างนาต้องเน้นดดยอย่าให้อยู่อย่างเดียวไม่ใช่ภาษาพ่อภาษาแม่เราปลูกฝังในวาทกรรมนี้มานานเลิกเสียทีเถอะคนไทยถ้าบางทีรู้เขารู้เราทำให้รบณเสมอกันครับ เราต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงโลกเราต้องหมุนเราต้องเรียนรู้ตลอดเวลาไม่ใช่อยู่เฉยให้เขาตามมาแล้วแซงไปไม่ได้เราต้องรู้จักตัวเองให้มากและรู้คนอื่นด้วยจะอยู่แบบไทยไม่ได้แล้วเพราะแข้งแรงจะทำให้เราเหมือนได้ประเทศไทยคืนมาหรือเราจะให้ประเทศเขาไปโดยทางอ้อมครับดินแดนที่เสียไปก็คือประเทศไทยเก่าทั้งนั้น
แรงงานไทยในประชาคมอาเซี่ยนนั้นเราต้องมีการอบรมเรื่องความรู้ให้แก่ตนต่างชาติให้รู้เกี่ยวกับประเพณีของเราบ้างในการับรู้ของเขาอย่างเดียวของเราทุกประเทศในอาเซียนเรามีการปฎิสัมพันธืกันมานานมากแล้วเพราะในดินแดนเหล่านี้เคยเป็นในการปกครองของเรามานานมากเราน่าจะรู้ดีกว่าใครลืมไปแล้วหรือ
ปัจจุบันประเทศไทย มีการพัฒนาศักยภาพให้แก่ทรัพยากรบุคคลทางด้านแรงงานในประเทศ และส่งออกแรงงานฝีมือไปสร้างสรรค์ผลงานให้เป็นที่ประจักษ์แก่สายตาของชาวต่างชาติมาตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา ทำให้ตลาดแรงงาน การส่งออกแรงงานฝีมือของไทยช่วงที่ผ่านมานั้น มีผู้ประกอบการและนายจ้างจากต่างประเทศที่ต้องการแรงงานฝีมือของไทยไปทำงานด้วยอยู่ตลอด ซึ่งถือได้ว่าแรงงานไทยเป็นสินค้าส่งออกยอดนิยมของประเทศอีกชิ้นหนึ่งเลยทีเดียว
องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labor Organization : ILO) ได้ประเมินไว้ว่า ปัจจุบันมีแรงงานต่างด้าวในทุกประเทศทั่วโลกประมาณ 86 ล้านคน ยอดเงินที่แรงงานต่างด้าวส่งเงินกลับไปยังครอบครัวของตนในประเทศกำลังพัฒนานั้น คิดเป็นเงินประมาณ 160,000 ล้านดอลลาร์ต่อปี ซึ่งมากกว่าเงินช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา (Development Aid) ที่ประเทศกำลังพัฒนาได้รับถึง 3 เท่า แต่แม้จะมีจำนวนมหาศาลเพียงใด เม็ดเงินรายได้ของแรงงานต่างด้าวส่งกลับบ้านนั้นเป็นเพียง 13% ของรายได้ที่แรงงานกลุ่มดังกล่าวได้รับเท่านั้น หมายความว่า รายได้ที่เหลืออีก 87% ของแรงงานต่างด้าวจะยังคงอยู่ในประเทศเจ้าบ้าน คิดเป็นมูลค่าประมาณ 1 ล้านล้านดอลลาร์ นับได้ว่าแรงงานต่างด้าวได้ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศเจ้าบ้านอย่างมากมาย
ปัจจุบันแรงงานไทยหันไปประกอบอาชีพด้านการผลิต และการบริการเป็นจำนวนมาก และทำงานด้านการเกษตรลดลงอย่างชัดเจน โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่น (อายุ 15-24 ปี) หากสถานการณ์ยังเป็นอย่างนี้ต่อไปคาดว่าในอนาคตประเทศไทยซึ่งเป็นประเทศเกษตรกรรมและหากจะคงความเป็น “ครัวโลก” อาจจะต้องหันไปพึ่งพาแรงงานข้ามชาติมากขึ้นเพื่อทดแทนแรงงานไทยในภาคเกษตรที่ขาดหายไป ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเตรียมการวางแผนกำลังคนด้านนี้ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานและป้องกันปัญหาอื่นๆ ที่จะตามมาไม่ว่าจะเป็นปัญหาแรงงานข้ามชาติที่ผิดกฎหมาย อาชญากรรม โรคระบาดที่จะมาพร้อมกับแรงงานเหล่านี้ เพื่อให้ไทยยังคงครองสมญา “อู่ข้าวอู่น้ำ” ได้ต่อไป
เมื่อประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ก็เท่ากับว่าต่อไปนี้จะมีการปรับปรุงแรงงานฝีมือในสาขาวิชาชีพต่างๆ (7 วิชาชีพ) ให้เท่าเทียมนานาประเทศ สาขาวิชาชีพเหล่านี้ ได้แก่ วิศวกร แพทย์ พยาบาล นักบัญชี นักสำรวจ ทันตแพทย์ และผู้ประกอบวิชาชีพ สถาปนิก เพราะสาขาวิชาชีพเหล่านี้เป็นสาขาวิชาชีพหน้าด่านของไทยที่มีความพร้อมสูง
ปัจจุบันแรงงานไทย ถึงแม้จะมีทักษะฝีมือเป็นที่ยอมรับของประเทศต่างๆ แต่ยังคงมีจุดอ่อนในเรื่องของทักษะทางด้านการใช้ภาษาในการติดต่อสื่อสาร ซึ่งถือว่ามีความสำคัญมากในการทำงาน ที่ผ่านมาการใช้ภาษาในการสื่อสารระหว่างคนไทยกับชาวต่างชาตินั้น ถือว่าอยู่ในขั้นที่น่าเป็นห่วง เพราะคนไทยยังขาดทักษะและความรู้พื้นฐานด้านการสื่อสารกับนายจ้างชาวต่างชาติในการรับคำสั่งงาน ยิ่งกรณีแรงงานเดินทางไปทำงานต่างประเทศ การพูดคุยเป็นสิ่งจำเป็นอย่างมาก เสมือนเป็นกุญแจดอกสำคัญสู่ความสำเร็จ
ปัจจุบันประเทศไทย มีการพัฒนาศักยภาพให้แก่ทรัพยากรบุคคลทางด้านแรงงานในประเทศ และส่งออกแรงงานฝีมือไปสร้างสรรค์ผลงานให้เป็นที่ประจักษ์แก่สายตาของชาวต่างชาติมาตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา ทำให้ตลาดแรงงาน การส่งออกแรงงานฝีมือของไทยช่วงที่ผ่านมานั้น มีผู้ประกอบการและนายจ้างจากต่างประเทศที่ต้องการแรงงานฝีมือของไทยไปทำงานด้วยอยู่ตลอด ซึ่งถือได้ว่าแรงงานไทยเป็นสินค้าส่งออกยอดนิยมของประเทศอีกชิ้นหนึ่งเลยทีเดียว แต่มีสิ่งหนึ่งที่เป็นปัญหาของแรงงาน และถือว่าเป็นปัญหาสำคัญที่คู่กับแรงงานไทยมาโดยตลอด ทำให้เกิดความด้อยคุณภาพกว่าแรงงานของชาติอื่นๆ ที่เป็นคู่แข่งนั่นคือ “ปัญหาทางด้านการใช้ภาษาสื่อสาร”
ตอบลบในการสื่อด้านภาษานั้้นจะทำให้เรามีศักยภาพมากขึ้นก็จริงเราต้องพัฒนาฝีมือด้วยกันก่อนการจะส่งไปต้องมีการวัดผลด้านภาษาให้เป็นรูปธรรมให้มากขึ้นกว่านี้อีกจากหนว่ยงานทุกภาคสว่นจึงจะดีกว่ากันแต่ด้านฝีมือของเราดีกว่าเพียงแต่พัฒนาด้านภาษาในทุกสถานที่แบบทหารมีการรายงานเป้นภาษาอังกฤษด้วย
ตอบลบข้อเสียเปรียบ สิ่งแรกคือ แรงงานจะไหลบ่า ทะลักเข้ามาอย่างห้ามไม่ได้ เป็นที่คาดว่า เมื่อมีการเปิดเสรีแรงงานเต็มที่จะมีการเคลื่อนย้ายแรงงานทักษะ อาทิ สถาปนิกและวิศวกรในอาเซียน ไปที่สิงคโปร์และมาเลเซียมากขึ้น แต่เมื่อกรอบการขยายบวกเป็นอาเซียนบวก3 อาเซียนบวก 6 บุคลากรในภาคต่าง ๆ เช่น ภาคการเงิน ธนาคาร และไอที คาดว่าจะมีการเคลื่อนย้ายเข้ามาเมืองไทยมากขึ้น และแย่งงานคนไทยมากขึ้นและ ค่าจ้างอาจถูกลง
ตอบลบฉะนั้นสิ่งที่แรงงานอย่างเรา ๆ ท่านๆ จะต้องเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน คือ การเตรียมพร้อมเรื่องภาษาต่างประเทศสำหรับใช้ในการสื่อสารและการทำงาน รวมไปถึงความรู้ด้านวิชาการในแขนงต่าง ๆ เพื่อปรับตัวเข้าหาทุนต่างชาติและพัฒนาตัวเองให้เทียบเท่าหรือดีกว่า แรงงานจากชาติอื่น ๆ โดยพิจารณาจากมาตรฐานวิชาชีพที่เป็นที่ยอมรับระดับสากล การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องจะช่วยให้ท่านเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน แค่อ่านสิ่งที่ตัวเองต้องเตรียมตัวเพื่อรับมือประชาคมอาเซียนในอีก 4 – 5 ปีข้างหน้า ก็ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ก็ไม่ใช่เรื่องยากหากเราทุ่มเท และพยายาม ขอเป็นกำลังใจให้ชาวออฟฟิศด้วยกัน นะคะ
ตอบลบก็อีกประมาณสี่ห้าปีเราก็พร้อมที่จะรับมือประชาคมอาเซียน คงเน้นเรื่่องการใช้ภาษาเป็นหลัก ทุกหน่วยงานมีความตื่นตัวพร้อมที่จะรับมือในอนาคต ประการแรกคงต้องเป็นปัญหาเรื่องของแรงงานเพราะจะมีการเปิดแบบเสรี
ตอบลบแรงงานไทยมันมีสองแบบ คือ ไปทำงานนี่เขาให้อยู่ในแคมอย่างเดียวก็มีในประเทศตะวันออกกลางที่เคยรู้มาครับ แต่ไอ้ที่ว่ามีปัญหานี่เป็นแบบมีความรู้มากกวาแต่ถ้ามีความรู้จริงก็น่าจะไปได้สวยประเทศเราอัธยาศัยดีครับภาษาคือการสื่อสารลองมาจริงผมว่าได้ครับแหมไอ้ตอนประเทศต่างที่อยู่รอบเราละก็เขายังถูกปกครองโดยต่างชาติเขาเปลี่ยนแปลงได้เราก็เปลี่ยนได้ครับ
ตอบลบปัญหาแรงงานไทย สำหรับคนที่ได้รับการศึกษาน้อยส่วนใหญ่จะเปนแรงงานไร้ฝีมือ คุณภาพของงานมักจะออกมาต่ำ หากเทียบกับประเทศในแถบเอเชียด้วยกัน ขาดการอบรมและพัฒนาฝีมือจากกรมพัฒนาฝึมือแรงงาน เปนเหตให้ทำให้มีแรงงานไปทำงานต่างประเทศมีน้อย ส่วนใหญ่ที่ได้ไปหากไม่โดนหลอกก้อร้องหาเงินมาใช้หนี้ค่านายหน้า ค่าหัวคิว ค่าตัวเครื่องบิน หากเปนบุคคลที่มีการศึกษา จบมาเข้าสู่ตลาดแรงงานมักมีปัญหาเรื่องประสบการ และภาษาที่ใช้สื่อสาร ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ไม่ได้ ยกตัวอย่างเช่น หากคุณเปนเจ้าของกิจการ มีคนมาสมัครงานในตำแหน่งเดียวกันถึง2คน ทั้งคู่ต่างไม่มีประสบการด้านการทำงานในตำแหน่งนี้เลย แรกเปนนักศึกษาจบใหม่เปนคนไทย คนที่สองเปนคนอินโด พูดอังกฤษได้ ทั้งเรียกเงินเดือนเท่ากัน หากคุณเปนเจ้าของกิจการ คุณจะเลือกใคร
ตอบลบนับเป็นโอกาสของบางสาขาวิชาชีพที่จะไปทำงานในกลุ่มประเทศในประชาคมอาเซียนได้ง่ายขึ้น และนี่อาจเป็นหนทางหนึ่งในการขจัดความยากจนของแรงงานไทยภายในประเทศบางคน เนื่องจากเขาสามารถมีรายได้เพิ่มขึ้น จากการเคลื่อนย้ายไปทำงานต่างแดน ดังนั้น กลยุทธ์ที่เหมาะสม ก็คือ การเตรียมตัวแต่เนิ่นๆ อย่ารอให้วันเวลาผ่านไปพยายามสะสมความรู้ประสบการณ์และทักษะมาเพิ่มเติมให้เกิดคุณค่าในตัวตนให้มากขึ้น การเข้ารับการฝึกอบรมในด้านที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มขีดความสามารถหรือสมรรถนะของตนจะเป็นส่วนสำคัญในการช่วยให้ประสบความสำเร็จในการทำงานและการสร้างรายได้ให้ได้มากขึ้น โดยเฉพาะเรื่องของภาษา
ตอบลบมีแรงงานต่างชาติไหลเข้าสู่วิชาชีพ วงการอุตสาหกรรมต่างๆ มากขึ้น และจะมาแย่งตำแหน่งของแรงงานที่เป็นคนไทยไป ทำให้แรงงานไทยเสียโอกาสในการถูกว่าจ้างลดลง แต่เราต้องไม่ลืมว่าแรงงานเหล่านั้นมีทักษะเท่าเทียมกับแรงงานไทยหรือไม่ เพราะแรงงานไทยได้ชื่อว่าเป็นแรงงานที่มีทักษะพอสมควร แต่หากแรงงานต่างชาติมีทักษะที่เท่าเทียมกับแรงงานไทยหรือเหนือกว่า เพราะอย่างน้อยด้านภาษาอังกฤษที่เขาเหนือกว่านั้น เราก็คงต้องกำหนดยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ในการขวนขวายเพิ่มเติมความรู้ด้านนี้ เพื่อมาปิดจุดอ่อนของแรงงานไทยให้มากที่สุด เพียงแต่ว่าขณะนี้ เรามีหน่วยงานใดที่ได้ดำเนินการแล้วหรือยัง ซึ่งคงต้องรีบดำเนินการอย่างเร่งด่วน โดยเฉพาะภาครัฐซึ่งมีสถานศึกษาอยู่ในความดูแลควรจะเป็นหน่วยงานที่ริเริ่มและประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึง
ตอบลบในด้านภาษานั้นของเราต้องมีการศึกษาครับต้องมีการอบรมก่อนออกจากการระดับภูมิภาคของเราต่างนาต้องเน้นดดยอย่าให้อยู่อย่างเดียวไม่ใช่ภาษาพ่อภาษาแม่เราปลูกฝังในวาทกรรมนี้มานานเลิกเสียทีเถอะคนไทยถ้าบางทีรู้เขารู้เราทำให้รบณเสมอกันครับ เราต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงโลกเราต้องหมุนเราต้องเรียนรู้ตลอดเวลาไม่ใช่อยู่เฉยให้เขาตามมาแล้วแซงไปไม่ได้เราต้องรู้จักตัวเองให้มากและรู้คนอื่นด้วยจะอยู่แบบไทยไม่ได้แล้วเพราะแข้งแรงจะทำให้เราเหมือนได้ประเทศไทยคืนมาหรือเราจะให้ประเทศเขาไปโดยทางอ้อมครับดินแดนที่เสียไปก็คือประเทศไทยเก่าทั้งนั้น
ตอบลบแรงงานไทยในประชาคมอาเซี่ยนนั้นเราต้องมีการอบรมเรื่องความรู้ให้แก่ตนต่างชาติให้รู้เกี่ยวกับประเพณีของเราบ้างในการับรู้ของเขาอย่างเดียวของเราทุกประเทศในอาเซียนเรามีการปฎิสัมพันธืกันมานานมากแล้วเพราะในดินแดนเหล่านี้เคยเป็นในการปกครองของเรามานานมากเราน่าจะรู้ดีกว่าใครลืมไปแล้วหรือ
ตอบลบปัจจุบันประเทศไทย มีการพัฒนาศักยภาพให้แก่ทรัพยากรบุคคลทางด้านแรงงานในประเทศ และส่งออกแรงงานฝีมือไปสร้างสรรค์ผลงานให้เป็นที่ประจักษ์แก่สายตาของชาวต่างชาติมาตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา ทำให้ตลาดแรงงาน การส่งออกแรงงานฝีมือของไทยช่วงที่ผ่านมานั้น มีผู้ประกอบการและนายจ้างจากต่างประเทศที่ต้องการแรงงานฝีมือของไทยไปทำงานด้วยอยู่ตลอด ซึ่งถือได้ว่าแรงงานไทยเป็นสินค้าส่งออกยอดนิยมของประเทศอีกชิ้นหนึ่งเลยทีเดียว
ตอบลบองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labor Organization : ILO) ได้ประเมินไว้ว่า ปัจจุบันมีแรงงานต่างด้าวในทุกประเทศทั่วโลกประมาณ 86 ล้านคน ยอดเงินที่แรงงานต่างด้าวส่งเงินกลับไปยังครอบครัวของตนในประเทศกำลังพัฒนานั้น คิดเป็นเงินประมาณ 160,000 ล้านดอลลาร์ต่อปี ซึ่งมากกว่าเงินช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา (Development Aid) ที่ประเทศกำลังพัฒนาได้รับถึง 3 เท่า แต่แม้จะมีจำนวนมหาศาลเพียงใด เม็ดเงินรายได้ของแรงงานต่างด้าวส่งกลับบ้านนั้นเป็นเพียง 13% ของรายได้ที่แรงงานกลุ่มดังกล่าวได้รับเท่านั้น หมายความว่า รายได้ที่เหลืออีก 87% ของแรงงานต่างด้าวจะยังคงอยู่ในประเทศเจ้าบ้าน คิดเป็นมูลค่าประมาณ 1 ล้านล้านดอลลาร์ นับได้ว่าแรงงานต่างด้าวได้ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศเจ้าบ้านอย่างมากมาย
ตอบลบปัจจุบันแรงงานไทยหันไปประกอบอาชีพด้านการผลิต และการบริการเป็นจำนวนมาก และทำงานด้านการเกษตรลดลงอย่างชัดเจน โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่น (อายุ 15-24 ปี) หากสถานการณ์ยังเป็นอย่างนี้ต่อไปคาดว่าในอนาคตประเทศไทยซึ่งเป็นประเทศเกษตรกรรมและหากจะคงความเป็น “ครัวโลก” อาจจะต้องหันไปพึ่งพาแรงงานข้ามชาติมากขึ้นเพื่อทดแทนแรงงานไทยในภาคเกษตรที่ขาดหายไป ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเตรียมการวางแผนกำลังคนด้านนี้ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานและป้องกันปัญหาอื่นๆ ที่จะตามมาไม่ว่าจะเป็นปัญหาแรงงานข้ามชาติที่ผิดกฎหมาย อาชญากรรม โรคระบาดที่จะมาพร้อมกับแรงงานเหล่านี้ เพื่อให้ไทยยังคงครองสมญา “อู่ข้าวอู่น้ำ” ได้ต่อไป
ตอบลบเมื่อประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ก็เท่ากับว่าต่อไปนี้จะมีการปรับปรุงแรงงานฝีมือในสาขาวิชาชีพต่างๆ (7 วิชาชีพ) ให้เท่าเทียมนานาประเทศ สาขาวิชาชีพเหล่านี้ ได้แก่ วิศวกร แพทย์ พยาบาล นักบัญชี นักสำรวจ ทันตแพทย์ และผู้ประกอบวิชาชีพ สถาปนิก เพราะสาขาวิชาชีพเหล่านี้เป็นสาขาวิชาชีพหน้าด่านของไทยที่มีความพร้อมสูง
ตอบลบปัจจุบันแรงงานไทย ถึงแม้จะมีทักษะฝีมือเป็นที่ยอมรับของประเทศต่างๆ แต่ยังคงมีจุดอ่อนในเรื่องของทักษะทางด้านการใช้ภาษาในการติดต่อสื่อสาร ซึ่งถือว่ามีความสำคัญมากในการทำงาน ที่ผ่านมาการใช้ภาษาในการสื่อสารระหว่างคนไทยกับชาวต่างชาตินั้น ถือว่าอยู่ในขั้นที่น่าเป็นห่วง เพราะคนไทยยังขาดทักษะและความรู้พื้นฐานด้านการสื่อสารกับนายจ้างชาวต่างชาติในการรับคำสั่งงาน ยิ่งกรณีแรงงานเดินทางไปทำงานต่างประเทศ การพูดคุยเป็นสิ่งจำเป็นอย่างมาก เสมือนเป็นกุญแจดอกสำคัญสู่ความสำเร็จ
ตอบลบ